ข้อด้อยของ Inbound Marketing คือ ต้องอาศัยระยะเวลาในการทำ ซึ่งกว่าจะเห็นผล อาจต้องใช้เวลาเป็นปี แต่ข้อดี คือ ให้ผลลัพธ์ที่ยั่งยืน และที่สำคัญคือ จะใช้งบประมาณน้อยหรือมากก็ไม่ใช่เรื่องได้เปรียบเสียเปรียบ เพราะจากรายงานฯ บริษัทที่ใช้งบประมาณด้านการตลาดมากกว่าหนึ่งล้านบาทต่อเดือนก็ไม่ได้มีสัดส่วนพึงพอใจมากกว่าบริษัทที่ใช้งบน้อย และพวกเขายังเป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนพึงพอใจน้อยที่สุดด้วย

ทั้งนี้ กลุ่มคนส่วนใหญ่ที่พึงพอใจในประสิทธิภาพการทำการตลาดทำเว็บไซต์ e-commerce รูปแบบนี้ ใช้งบประมาณเพียง 30% ของงบการตลาดเท่านั้น และกว่าครึ่งของคนที่ตอบแบบสอบถามก็ใช้งบประมาณลงทุนทำ Inbound ไม่ถึง 30,000 บาท ซึ่งถือเป็นจำนวนที่ต่ำมากๆ เมื่อเทียบกับงบโฆษณา
ภาพรวมการทำ Inbound Marketing ในไทยนั้น สรุปได้ว่า ให้ผลลัพธ์ที่น่าพึงพอใจ ใช้งบประมาณในการลงทุนทำไม่สูง แต่ต้องอาศัยระยะเวลาในการทำจึงจะเห็นผล
เป้าหมายการตลาดออนไลน์ในปี 2020 โฟกัสที่การเพิ่มยอดลูกค้า

ในปี 2019 เป้าหมายการทำการตลาด รับทำเว็บไซต์ขายของออนไลน์ บนโลกออนไลน์ของนักการตลาดไทย เทความสำคัญไปที่ “ปากกรวยการตลาด (Top of Funnel)” ไม่ว่าจะเป็น การเพิ่มยอด Traffic, ยอดการเข้าถึงคอนเทนต์, การเพิ่มปฏิสัมพันธ์บนโซเชียลมีเดีย และผลลัพธ์บนโลกออนไลน์ (Online Conversion)
แต่สำหรับ ปี 2020 ธุรกิจจะให้ความสำคัญกับการเพิ่มยอดลูกค้าเป็นอันดับหนึ่ง ตามมาด้วยยอดปฏิสัมพันธ์กับรับทําเว็บขายของออนไลน์ผู้คนบนโลกออนไลน์ และโฟกัสที่การวัดผลและความคุ้มค่า (ROI) ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทำการตลาด
ตีความได้ว่า ธุรกิจที่ทำ Inbound Marketing ในไทยยังอยู่ในช่วงตั้งต้น จึงต้องการสร้างแบรนด์ให้เป็นที่รู้จักก่อน และเมื่อผู้คนเริ่มคุ้นเคยกับแบรนด์แล้ว จึงวางแผนปรับโฟกัสมาที่การสร้างผลลัพธ์ทางธุรกิจ หรือ “ก้นกรวยการตลาด” (Bottom of Funnel)
ที่มา : contentshifu.com